มาตรฐานทางจริยธรรมข้อที่ 2 ซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสำนึกที่ดี และรับผิดชอบต่อหน้าที่
มาตรฐานทางจริยธรรมประการที่ 2 ซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสำนึกที่ดี และรับผิดชอบต่อหน้าที่
รับชมคลิปได้ที่ https://www.youtube.com/watch?v=rwjQDUT7d8Q
|
มาตรฐานทางจริยธรรมประการที่ 2 ซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสำนึกที่ดี และรับผิดชอบต่อหน้าที่
รับชมคลิปได้ที่ https://www.youtube.com/watch?v=rwjQDUT7d8Q
มาตรฐานทางจริยธรรมประการที่ 1 ยึดมั่นในสถาบันหลักของประเทศ อันได้แก่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
รับชมคลิปได้ที่ https://www.youtube.com/watch?v=mysQi87EZXs
ตัวอย่างพฤติกรรมมาตรฐานทางจริยธรรมที่ต้องจำให้ขึ้นใจ
ข้อที่ 7 ดำรงตนเป็นแบบอย่างที่ดี และรักษาภาพลักษณ์ของทางราชการ
ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
Website : http://jumkunjai.ocsc.go.th/
Website : https://www.ocsc.go.th/
Facebook : https://www.facebook.com/jumkunjai/
Twitter : https://twitter.com/jumkunjai123?s=11
Youtube : https://bit.ly/3rmlThe
#จำขึ้นใจ
#มาตรฐานทางจริยธรรม
#สำนักงานกพ
ตัวอย่างพฤติกรรมมาตรฐานทางจริยธรรมที่ต้องจำให้ขึ้นใจ
ข้อที่ 6 ปฏิบัติหน้าที่อย่างเป็นธรรมและไม่เลือกปฏิบัติ
ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
Website : http://jumkunjai.ocsc.go.th/
Website : https://www.ocsc.go.th/
Facebook : https://www.facebook.com/jumkunjai/
Twitter : https://twitter.com/jumkunjai123?s=11
Youtube : https://bit.ly/3rmlThe
#จำขึ้นใจ
#มาตรฐานทางจริยธรรม
#สำนักงานกพ
ประกาศคณะกรรมการคัดเลือกกรรมการ ก.พ.ค. เรื่องรายชื่อผู้ผ่านการประเมินประสบการณ์และหรือผลงาน
ตามที่คณะกรรมการคัดเลือกกรรมการ ก.พ.ค. ได้มีประกาศลงวันที่ 1 มิถุนายน 2564 ให้ผู้สมัครที่ผ่านการตรวจสอบคุณสมบัติ ยื่นหลักฐานที่แสดงประสบการณ์และหรือผลงานที่บ่งชี้ถึงความรู้ความสามารถที่เหมาะสมกับตำแหน่งกรรมการ ก.พ.ค. เพื่อประกอบการพิจารณาคัดเลือก นั้น
บัดนี้ คณะกรรมการคัดเลือกกรรมการ ก.พ.ค. ได้พิจารณาประเมินประสบการณ์และหรือผลงานของผู้ผ่านการตรวจสอบคุณสมบัติเรียบร้อยแล้ว จึงประกาศรายชื่อผู้ที่ผ่านการประเมินประสบการณ์และหรือผลงาน โดยเรียงตามลำดับการสมัคร ......
ตัวอย่างพฤติกรรมมาตรฐานทางจริยธรรมที่ต้องจำให้ขึ้นใจ
ข้อที่ 5 มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน
#จำขึ้นใจ
#มาตรฐานทางจริยธรรม
#สำนักงานกพ
สำนักงาน ก.พ. โดยศูนย์ส่งเสริมจริยธรรม จัดการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) เกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลและการนำข้อมูลมาแสดงเป็นกราฟ (Dashboard) เพื่อการบูรณาการฐานข้อมูลการร้องเรียนของหน่วยงานภาครัฐ เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2565 ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 9 อาคารสำนักงาน ก.พ. จังหวัดนนทบุรี โดยผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
โดย การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการฯ ในช่วงที่ 1 เป็นกิจกรรมพิธีเปิดโดย นายปิยวัฒน์ ศิวรักษ์ เลขาธิการ ก.พ. ให้เกียรติกล่าวเปิดการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการฯ และกล่าวรายงานโดย นางสาวปรางค์มาศ บุญสิทธิ์ ผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมจริยธรรม และได้รับเกียรติบรรยายถ่ายทอดแนวคิดการบูรณาการฐานข้อมูลการร้องเรียนของหน่วยงานภาครัฐ โดย นายนิวัติไชย เกษมมงคล เลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. และการบรรยายถ่ายทอดแนวคิดเรื่องความคาดหวังของการบูรณาการฐานข้อมูลการร้องเรียนของหน่วยงานภาครัฐ โดย นางเมธินี เทพมณี กรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม (ก.ม.จ.) และประธานอนุกรรมการเกี่ยวกับการกำกับ ติดตาม และประเมินผลตามมาตรฐานทางจริยธรรม (อ.ก.ม.จ.)
ตัวอย่างพฤติกรรมมาตรฐานทางจริยธรรมที่ต้องจำให้ขึ้นใจ
ข้อที่ 4 คิดถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว และมีจิตสาธารณะ
#จำขึ้นใจ
#มาตรฐานทางจริยธรรม
#สำนักงานกพ
เมื่อวันอังคารที่ ๗ ธันวาคม ๒๕๖๔ ดร.ปิยวัฒน์ ศิวรักษ์ เลขาธิการ ก.พ. ดร.ชุติมา หาญเผชิญ รองเลขาธิการ ก.พ. และคณะ ได้นำนักเรียนทุนรัฐบาล ก.พ. (UCAS) ประจำปี ๒๕๖๓ ซึ่งจะไปศึกษาระดับปริญญาเอก สาขาวิชา Nanotechnology ณ National Center for Nanoscience and Technology, University of Chinese Academy of Sciences (UCAS) สาธารณรัฐประชาชนจีน จำนวน ๔ ราย ได้แก่ ๑) น.ส.กรณ์อัฐชญา วีณุตรานนท์ ๒) น.ส.พรรณเลขา หมั่นเพ็ชร ๓) น.ส.ภวันตรี พรมสุวรรณี ๔) น.ส.ลักษิกา จิรโมไนย เข้าเฝ้าทูลละอองพระบาท รับพระราชทานพรก่อนเดินทางไปศึกษาต่อยังต่างประเทศ โดยขณะนี้ นักเรียนทุนอยู่ระหว่าง การเตรียมความพร้อมด้านภาษา และคาดว่าจะเข้าศึกษาที่ UCAS ในปีการศึกษา ๒๐๒๒ - ๒๐๒๓ ต่อไป
สำนักงาน ก.พ. โดยศูนย์ส่งเสริมจริยธรรม ได้ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแสหรือผู้ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ซึ่งถือเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการทำประโยชน์ในองค์กรและสังคมโดยรวม ด้วยการเฝ้าระวัง เป่านกหวีด เพื่อหยุดยั้งหรือป้องกันการกระทำผิดต่าง ๆ และได้จัดทำแบบสอบถามเพื่อรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแส (Whistleblower) ขึ้น เพื่อรับฟังปัญหาและอุปสรรคของระบบร้องเรียนและการคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแสของหน่วยงานของรัฐในปัจจุบัน รวมถึงปัญหาอุปสรรคของการร้องเรียน ความพึงพอใจ และเชื่อมั่นของประชาชนที่มีต่อการรับเรื่องร้องเรียนของหน่วยงานของรัฐในภาพรวม และนำผลจากการรับฟังความคิดเห็นดังกล่าว ไปจัดทำข้อเสนอแนวทางการพิจารณาเรื่องร้องเรียนและมาตรการเฝ้าระวัง การบังคับใช้ประมวลจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ อันจะเป็นมาตรการและกลไกตามที่ได้กำหนดไว้ในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ.